“บ้านใบ” ร้านชาในอำเภอตะกั่วป่าของคู่รักประดิษฐ์ต้นไม้จิ๋ว หรือ ต้นไม้สายย่อ ที่วันหนึ่งตัดสินใจย้ายตัวเองจากเมืองกรุง กลับไปตั้งรกรากอยู่ที่บ้านเกิด นอกจากยืดอาชีพทำต้นไม้จิ๋วอย่างที่ถนัดแล้ว ทั้งคู่ยังได้เพิ่มเติมอาชีพการปรุงชาเบลนด์สูตรต่างๆ ออกมาด้วย
ในยุคที่การแข่งขันสูงเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ บวกกับพฤติกรรมผู้บริโภคที่มีความต้องการในแบบของตัวเองสูงมากขึ้น “Personalized Marketing” หรือ การตลาดเฉพาะบุคคล จึงมีบทบาทอย่างมากที่จะช่วยให้ธุรกิจชนะใจผู้บริโภค แม้แต่ค่ายรถหรูอย่าง BMW ยังหันมาทำตลาดนี้
จากฟาร์มวัวที่ต้องใช้เวลาในการเลี้ยง ลงทุนสูง และคืนทุนนาน ทำให้ “เยาวลักษณ์ แดนพันธ์” หันมาทำฟาร์มแพะครบวงจรแทน นอกจากจะเลี้ยงและทำรอบขายได้ 2 ครั้งต่อปี เร็วกว่าเลี้ยงวัวถึง 10 เท่า ฟาร์มแพะยังเป็น Sunlight ทางเลือกเนื้อสัตว์ของคนยุคนี้ด้วย
ทำอย่างไรในวันที่ผู้บริโภคไม่สนใจโฆษณา “เชื่อตัวเอง” มากกว่า “เชื่อแบรนด์” ส่องกลยุทธ์ที่จะช่วยปลดล็อกข้อจำกัดนี้ ทำให้ผู้บริโภคกลับมาซื้อสินค้าแบบไม่ต้องคิดหน้าคิดหลัง
การทำธุรกิจให้ยืนยาวเป็นสิ่งที่ไม่ว่าผู้ประกอบการคนใด ก็คงอยากได้ แต่หากวันหนึ่งเมื่อธุรกิจต้องถึงทางตัน เจอคู่แข่งรายใหม่ที่เก่งกว่า ดีกว่า แถมยังทำราคาขายได้ดีกว่า เราจะไปต่อ หรือหยุด วันนี้เรามี 3 ข้อคิดดีๆ จากผู้ประกอบการตัวจริงมาแนะนำกัน
ธุรกิจส่วนใหญ่ที่ไม่อาจยืนยาวสร้างตำนานได้ส่วนหนึ่งมาจากเรื่องของการปรับตัว แต่หากทำได้ ก็จะยืนยาวต่อไป เหมือนเช่นกับ "เองเกฮึ้งโอสถ" ร้านขายยากว่า 90 ปี ที่กำลังเข้าขั้นโคม่า แต่สามารถรักษาธุรกิจให้รอดด้วยโซเชียลมีเดีย ที่จะมาแชร์วิธีการทำตลาดทั้งเฟซบุ๊กและ Tiktok
เชื่อไหมว่า community แหล่งรวมพลบนโซเชียลนั้นมีพลังแฝง มากกว่าแค่การขายสินค้า หลายๆ แบรนด์จึงหันมาใช้ Community เป็นพื้นที่สร้างโอกาสทางธุรกิจ เช่น LEGO ที่รอดจากการล้มละลายมาได้
อาการประหม่า ความวิตก มักเป็นศัตรูกับความก้าวหน้า อาการเหล่านี้เกิดขึ้นได้กับทุกคน แม้แต่นักธุรกิจ ผู้บริหารระดับสูง เพื่อไปสู่ความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ในการทำธุรกิจ นักจิตวิทยาแนะวิธีรับมือสร้าง Alter Ego ร่างสอง คนใหม่ในเวอร์ชั่นพร้อมสู้งาน หรือ Batman Effect
“ทรงอย่างแบด” (Bad Boy) เพลงดังจากวง Paper Planes ที่ได้รับการขนานนามให้เป็นเพลงชาติอนุบาล จากเพลงร็อกสุดมัน กลับกลายเป็นเพลงฮิตในหมู่เด็กอนุบาลและประถม วันนี้จึงชวนมาปั้นธุรกิจให้ดัง ในสไตล์ทรงยังแบดกัน โดยเหล่าแฟนคลับของเพลง ก็เปรียบเหมือนเป็นผู้บริโภคนั่นเอง
การเรียกค่าเสียหายเมื่อลูกค้าทำของชำรุดนั้นอาจดูเป็นเรื่องปกติ แต่นัยหนึ่งอาจเป็นดาบสองคมที่อาจทำให้ลูกค้าไม่ประทับใจ ปัจจุบันมีหลายธุรกิจ เช่น โรงแรมหรูที่ไม่คิดค่าชาร์จนี้แล้ว แต่สำหรับ SME ที่สายป่านไม่ยาวจะมีทางออกอย่างไร
เพราะธุรกิจหลักที่เคยทำมากว่า 18 ปีอย่าง ครัวโต๊ะจีนสมศักดิ์ โภชนา (โพธิ์แจ้) ต้องหยุดชะงักทันทีที่โควิดระบาด ไม่มีงาน ไม่มีเงินเข้า แต่ยังมีภาระทั้งค่าจ้างพนักงาน ค่าประกัน ฯลฯ ทำให้อยากปิดกิจการให้จบไปพร้อมโควิด แต่สุดท้ายก็กลับพลิกฟื้นขึ้นมาได้เพราะลูกสาวคนเล็กที่ไม่ยอมแพ้ ต่อยอดกลายเป็นโต๊ะจีนเดลิเวอรี่เจ้าดังของจังหวัดได้
ปัจจัยอะไรที่จะทำให้พนักงานทำงานได้ดีขึ้นถ้าไม่ใช่เบี้ยเลี้ยง เรื่องนี้ได้เป็นประเด็นที่มีคนสงสัยและได้ทำการทดลองไว้เกือบ 100 ปีแล้ว เป็นการทดลองเชิงจิตวิทยาที่เรียกกันว่า Hawthorne Effect